แบบจำลองการจ่ายเงินปันผลจากกำไรส่วนที่เหลือ
หมายถึงการจ่ายเงินปันผล จากกำไรส่วนที่เหลือจากการลงทุนในโครงการลงทุนที่คาดว่าจะทำในอนาคตตัวอย่างที่ 1
บริษัทมี D/A = 40% มีกำไรสุทธิ 100 ล้านบาท ต้องการทำโครงการ A มูลค่า 50 ล้านบาทวิธีคิด โครงการ A ใช้เงินทุนส่วนของหนี้สิน 40% = 0.4x50 = 20 ล้านบาท
โครงการ A ใช้เงินทุนส่วนของเจ้าของ 60% = 0.6x50 = 30 ล้านบาท
กำไรสุทธิ 100 ล้าน ลงทุน 30 ล้าน ดังนั้น จ่ายเงินปันผล = 100-30 = 70 ล้านบาท
ตัวอย่างที่ 2
บริษัทมี D/A = 40% มีกำไรสุทธิ 100 ล้านบาท ต้องการทำโครงการ A มูลค่า 200 ล้านบาทวิธีคิด โครงการ A ใช้เงินทุนส่วนของหนี้สิน 40% = 0.4x50 = 80 ล้านบาท
โครงการ A ใช้เงินทุนส่วนของเจ้าของ 60% = 0.6x50 = 120 ล้านบาท
กำไรสุทธิ 100 ล้าน ลงทุน 120 ล้าน ยังขาดอีก 20 ล้านบาท ต้องออกหุ้นสามัญเพิ่ม 20 ล้านบาท
ข้อดี
บริษัทไม่ต้องออกหุ้นสามัญใหม่และค่าใช้จ่ายในการออกหุ้นสามัญน้อยที่สุดข้อเสีย
กรณีที่มีโครงการดีๆ มากเป็นแนวโน้มที่ดี แต่กลับ ไม่มีการจ่ายเงินปันผลและขายหุ้นสามัญเพิ่ม ทำให้เกิดสัญญาณที่ขัดแย้งกัน ทำให้ผู้ลงทุนบางกลุ่มไม่พอใจกำไร กระแสเงินสด และเงินปันผล
ในการจ่ายเงินปันผล ปัจจัยในเรื่อง กระแสเงินสด มีความสำคัญมากกว่า กำไรกระบวนการจ่ายเงินปันผล
1. วันที่ประกาศจ่ายเงินปันผล2. วันปิดสมุดพักโอนหุ้น
3. วันที่ผู้ซื้อหุ้นไม่มีสิทธิได้รับเงินปันผล - จะนับย้อนหลัง 4 วัน จากวันปิดสมุดพักโอนหุ้น เช่นปิดสมุด 12 ธันวาคม ผู้ที่ซื้อตั้งแต่วันที่ 9 จะไม่มีสิทธิรับเงินปันผล
4. วันจ่ายเงินปันผล
การนำเงินปันผลที่ได้รับมาลงทุนใหม่
- Open market
- New stock
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อนโยบายเงินปันผล
- ข้อจำกัดในการจ่ายเงนปันผล
- โอกาสในการลงทุน
- ต้นทุนของแหล่งเงินทุนที่หาได้
- ผลกระทบของนโยบายเงินปันผลต่อ ks
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น